วันที่เผยแพร่
ชื่อบทความ
23/05/2022

เมื่อโอมิครอนกลายพันธุ์ วัคซีนยังป้องกันได้หรือไม่

  การระบาดของโรคโควิด 19 เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและยาวนานกว่า 2 ปีครึ่ง ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา เชื้อไวรัสมีการกลายพันธุ์ที่รวดเร็ว และมีการกลายพันธุ์ที่ทำให้เกิดไวรัสสายพันธุ์ที่น่ากังวล (Variant o…

23/05/2022
08/02/2022

สูบบุหรี่ไฟฟ้า เสี่ยงเกิดภาวะสมองล้า

lรู้หรือไม่….การสูบบุหรี่ไฟฟ้าเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิด ‘สภาวะสมองล้า’ ยิ่งสูบตอนอายุน้อย ยิ่งเพิ่มความเสี่ยง!! วันที่ 3 มกราคม ดร.พญ.เริงฤดี ปธานวนิช อาจารย์ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชม คณะแพทยศาสตร์ โ…

08/02/2022
22/12/2021

การพัฒนาแบบจำลองบูรณาการระบบการแก้ไขปัญหาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เพื่อสนับสนุนกระบวนการตัดสินใจเชิงนโยบาย

จากปัญหาการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ซึ่งเป็นปัญหาซับซ้อนที่สัมพันธ์เชื่อมโยงกับเศรษฐกิจ และมีความไม่แน่นอนในการแก้ไขปัญหาจากความรู้ที่มีอยู่จำกัดในปัจจุบัน แต่กรอบแนวคิดที่ประเทศไทยใช้กำหนดทิศทาง…

22/12/2021
22/12/2021

การพัฒนาสภาพแวดล้อมภายในที่พักอาศัยเพื่อการฟื้นฟูผู้สูงอายุภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า

ผู้สูงอายุมักต้องเผชิญกับภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า โดยเหตุส่วนหนึ่งเกิดจากความเสื่อมถอยของสมอง ระบบประสาท รวมไปถึงระบบความทรงจำและการนึกคิดต่างๆ จากรายงานภาวะโรคและการบาดเจ็บของประชากรไทย พ.ศ. 254…

22/12/2021
22/12/2021

การออกแบบระบบและกลไกในการขับเคลื่อนเขตสุขภาพที่ 6

ที่ผ่านมากระทรวงสาธารณสุขมีการขับเคลื่อนและสนับสนุนการพัฒนาเขตสุขภาพอย่างต่อเนื่อง หากแต่การดำเนินการยังไม่คล่องตัวในทางปฏิบัติหลายเรื่อง ทำให้การดำเนินงานตามข้อเสนอการบริหารจัดการเขตสุขภาพไม่เป็นไปตา…

22/12/2021
22/12/2021

การประเมินความคุ้มค่าการผ่าตัดปลูกถ่ายตับในผู้ป่วยโรคตับแข็งระยะกลางและระยะท้าย ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า

โรคตับแข็งเป็นปัญหาสาธารณสุขที่มีความสำคัญ ข้อมูลล่าสุดปี 2558 มีการประมาณการจำนวนผู้เสียชีวิตด้วยโรคตับแข็งประมาณ 14,000 รายต่อปี ซึ่งผู้ป่วยโรคตับแข็งระยะกลางและระยะท้ายต้องเผชิญกับความเจ็บปวดจากโรค…

22/12/2021
22/12/2021

ผลของการออกกำลังและการบริโภคอาหารต่อการเกิดโรคสมองเสื่อม โรคไตเรื้อรัง โรคเบาหวาน และโรคหัวใจและหลอดเลือดในประชากรไทยในจังหวัดอุบลราชธานี

โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นกลุ่มโรคที่เป็นสาเหตุของการเสียชีวิตของประชากรโลกกว่า 36 ล้านคนต่อปี ซึ่งโรคที่พบบ่อยที่สุดคือ โรคหัวใจและหลอดเลือด รองลงมาได้แก่ โรคเบาหวาน โรคไต ภาวะสมองเสื่อม โรคปอดอุดกั้น…

22/12/2021
22/12/2021

โครงการนำร่องการวิจัยสำหรับจีโนมิกส์ประเทศไทย: การศึกษาข้อมูลรหัสพันธุกรรมของผู้ป่วยมะเร็งชาวไทย

โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ของประชากรไทย นอกจากนี้มะเร็งยังเป็นโรคที่มีภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาผู้ป่วยสูงที่สุดในบรรดาโรคกลุ่ม NCD ของประเทศไทย ดังนั้นการค้นหาป้องกัน หรือให้การรักษาโ…

22/12/2021
22/12/2021

โครงการสังเคราะห์ข้อเสนอเพื่อสนับสนุนกระบวนการตัดสินใจเชิงนโยบายและการวางแผนการปรับตัวหลังวิกฤตของระบบสุขภาพของประเทศไทย โดยการประยุกต์ใช้แบบจำลองสถานการณ์พลวัตระบบของการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

ปัจจุบันประเทศไทยเริ่มมีการพัฒนาแบบจำลองสถานการณ์ทางระบาดวิทยาของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 เช่น การพัฒนาแบบจำลองสถานการณ์ทางระบาดวิทยาของทีมวิจัยจากคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล โดยความร่วมม…

22/12/2021
22/12/2021

การวิจัยสังเคราะห์และทบทวนเพื่อพัฒนามาตรการนำสารสกัดกัญชาใช้ในทางการแพทย์สำหรับประเทศไทย

หลังจากมีกระแสคลายล็อคกัญชา หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทางกฎหมาย ได้วางแนวทางเพื่อกำกับและวางระบบบริการ เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีความจำเป็นสามารถเข้าถึงการรักษาตามสิทธิขั้นพื้นฐาน ปลอดภัยและได้ประโยชน์จากการรักษ…

22/12/2021